เอกสารประกอบ เอกสารประกอบการบรรยายช่วงที่ 1 เอกสารประกอบการบรรยายช่วงที่ 2 เอกสารประกอบการบรรยายช่วงที่ 3 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดาวน์โหลด>> Bloom s Taxonomy ดาวน์โหลด>> Bloom s Taxonomy Verb ใบงาน ดาวน์โหลด>> Course-design OBE ส่งมาที่อีเมล์ celt.kmutt@gmail.com วิดีโอย้อนหลัง Part 1 หลักการ Outcome-based education (OBE) และการออกแบบ Learning Outcome (LO) Part 2 การเขียนผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ชัดเจนและหลักการวัดประเมินผลและออกแบบเกณฑ์การประเมิน (Rubric) Part 3 การสร้างเกณฑ์การประเมิน (Rubric) ของผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับบทเรียน (LLO) และการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้
Tag: obe
Rubric
Two types of Rubrics What’s the difference between analytic and holistic rubrics? Analytic rubrics identify and assess components of a finished product. Holistic rubrics assess student work as a whole. Example of holistic rubric Example of Analytic rubric
Writing Learning Outcome
Method 1 : ABCD method (Heinrich, et al. 1996) Audience : Who? Who are your learners? Behaviour: What? What do you expect them to be able to do? (observable behaviour) Condition: How? Under what circumstances or context will the learning occur? Degree: How much? How much will be accomplished, how well will the behaviour need…
ประชุมพิจารณากรอบหลักสูตร Computing Science ระดับ ป.1 – ม.6
สถาบันการเรียนรู้ มจธ. ให้ความร่วมมือกับ สสวท. ในการร่วมวางกรอบหลักสูตรวิชา Computing Science ระดับประถม และมัธยม ผู้เขียนโชคดีที่ได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมพิจารณา learning outcome ในวันนี้ด้วย ทำให้ได้สัมผัสกระบวนการออกแบบหลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (outcome-based curriculum) ที่มีผลกระทบสูงในระดับประเทศ ความโชคดีอีกประการหนึ่ง คือมีโอกาสได้พบกับ “อาจารย์คนแรกๆ” ของผู้เขียนในวงการ computer science ที่ไม่ได้พบกับท่านมาตั้ง 16 ปี นั่นคือ รศ. ยืน ภู่วรวรรณ (คราวที่แล้วผู้เขียนยังเป็นนักเรียน ม.6 ตัวเล็กๆ) ในวันนี้ได้เรียนรู้ทัศนคติในการทำงานที่ดีหลายประการจากตัวอย่างและโอวาทของท่าน หลักสูตรใหม่ที่กำลังออกแบบกันอยู่นี้ กระทรวงศึกษาธิกาวางแผนจะประกาศใช้ราวเดือน ก.พ. ปี 2560 สำหรับทุกโรงเรียนในประเทศไทย ทั้งในระดับประถมและมัธยม (ป.1 – ม.6) เพื่อเตรียมพร้อมเยาวชนให้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคต วิสัยทัศน์หลักที่เป็นแนวทางในการวางหลักสูตรนี้ก็คือ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเป็นขั้นตอน (ทักษะการคิดเชิงคำนวณ) ตลอดจนสมรรถนะอื่นๆ ที่เกียวข้องกับวิชา computer นั้น ล้วนเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับการดำรงชีวิตในอนาคต ไม่ว่านักเรียนจะเติบโตขึ้นมาแล้วประกอบอาชีพทางด้านคอมพิวเตอร์หรือไม่ก็ตาม
การประเมิน Learning outcome ตาม Bloom’s taxonomy ของ Affective domain
หายหน้าหายตาไปนาน คนเขียนก็เข้าโรงพยาบาลไปเรียบร้อย แล้วก็กลับมาทำงานใหม่ด้วยจิตใจแจ่มใส แอ๊ะเราจะวัดได้ไงว่าจิตใจเราแจ่มใส เราก็ต้องประเมินใช่ไหมครับ ผมได้อ่านงานวิจัยหนึ่งของต่างประเทศเรื่องการประเมินหมวดของ affective domain หรือ Soft skill เช่น กลุ่มด้านเจตนาคติ หรืออารมณ์ ในบทวิจัยนี้เขาได้กล่าวว่า affective domain คือกลุ่มที่อ้างอิงถึงทัศนคติ (Attitude) และ คุณค่า(Value) มากที่สุด ตามมาด้วย แรงจูงใจ(Motivation) และความเชื่อ(Beliefs) แค่ฟังพวกนี้ก็วัดยากใช่ไหมครับ เชื่อหรือไม่ว่าต่างประเทศก็ไม่ค่อยมีคนวัดมากเหมือนกัน คราวนี้เรามาลองดูตัวอย่างของ LO ของ affective domain ตาม Bloom ดีกว่า Receiving /attending – Take interest in innovation of technological sciences. Collect information about healthy life style. Tolerate different attitudes towards…
6+1 Flagship track 1
Chair – Vice president of academic affair. In the past – Ajarn Bundit try to fine tune of OBE by communication. Normally, 6+1 flagship is around 3 times. The theme is the quality of teaching and learning. Ajarn Suwit told that C4ED did the roadshow many faculties except the FIBO and FIET. Instruction designer to facilitate the…
USAID Comet – Outcome based education
หลังจากที่ได้ไปงานสัมมนาเชิงวิชาการของคลังสมองวันที่ 5-6 กันยายน 2559 ดร.พัฒนาช พัฒนะศรี มหาวิทยาลัยมหิดลได้มาบรรยายเรื่อง USAID COMET อาจารย์ได้ร่วมงานกับ USAID ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยแรกๆที่สหรัฐสนับสนุนการศึกษาสำหรับประเทศที่อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ส่วนหนึ่งที่น่าสนใจคือ Outcome based education คำถามว่าคล้ายอย่างไรก็เห็นได้จาก Instruction toolkit ที่พูดถึงเรื่องการทำ Backward design และการใช้ Bloom’s taxonomy รวมถึงวิธีการเขียน Learning outcome โครงการนี้มีส่วนดีคือ จะมีการพูดถึงการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีในการสอน เช่น Blended learning และ Peer active learning ถ้าสนใจสามารถดาวโหลดเนื้อหาเพิ่มเติมได้ที่ Mekong Skill 2 work
Program learning outcome ของวิชาพื้นฐานของวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ทำอย่างไรที่จะวัดผลลัพธ์การเรียนรู้ได้อย่างชัดและเห็นตรงกันกับคณะต่างๆ ผลลัพธ์การเรียนรู้ควรเป็นอย่างไร ความเก่งจะแสดงออกมาได้อย่างไร ควรจะมีแกนหลักในการสอนทางคณิตศาสตร์แล้วก็มีความต้องการของภาควิชา ทางคณะวิทยาศาสตร์ได้สำรวจคณะต่างๆในมหาวิทยาลัย เช่น วิศวะ สถาบันหุ่นยนต์ภาคสนาม และพบว่ามีเนื้อหาบางเรื่องที่ทางคณะต้องการและไม่ต้องการ ตอนนี้ได้ผลตอบกลับมาในรายระดับภาค ครุศาสตร์มีการเรียนสองกลุ่ม คือ เรียนกับวิศวะ อีกกลุ่มเรียนกับครุศาสตร์ กลุ่มที่เรียนกับวิศวะจะมีปัญหาค่อนข้างเยอะเพราะนศ.จะตกมาก ในส่วนของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่มีมีปัญหาเรื่องเนื้อหาสักเท่าไหร่ แต่ทางคณะอยากเพิ่มเรื่อง Application ส่วนทางสถาบันหุ่นยนต์ภาคสนาม มีระบบติดตามนักศึกษาตลอด เช่น สำรวจนักศึกษาออนไลน์ นศ.มีทัศนคติที่ดี สิ่งที่สถาบันขอคือ อยากให้มีการบูรณาการกับวิชาพื้นฐาน ถ้าทำอะไรพิเศษกับหลักสูตรหนึ่งจะกระทบกับคณะอื่นที่เรียนร่วมกัน การสอนจะมีสอนประมาณ 4 ชม. เผื่อว่าจะมีการทำกิจกรรม ส่วนวิชาฟิสิกส์ มีการปรับเนื้อหาค่อนข้างยากเพราะต้องตรงตามการควบคุมทางวิชาชีพของวิศวกร บางส่วนต้องตอบคำถามทาง Soft-skill มีการปรับเทคนิคการสอนเช่น ทางสถาบันหุ่นยนต์ภาคสนาม มีการสอนในรูปแบบ Active learning และพบว่ามีสาเหตุหลายปัจจัยทั้งในเรื่องของความรู้พื้นฐานยังไม่พร้อม นศ.เจอเรื่อง Dif และ Integrate ทางคณิตศาสตร์ได้ช่วยปรับพื้นฐาน ควรเรียนสองเรื่องนี้ให้จบสิ้นก่อนสอบกลางภาค ควรมีการใช้ TA เข้ามาช่วย ตอนนี้ได้มีการวิจัยจาก LI และ GEO โดยให้เด็ก…